ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ในชุดซอฟต์แวร์ fwtools มีซอฟต์แวร์โมดูลที่น่าสนใจมากอยู่ 2 โมดูลที่เป็นประโยชน์ในการแปลงค่าพิกัดตามรูปแบบเส้นโครงแผนที่ และการแปลงพิกัดเพื่อเปลี่ยนพื้นหลักฐาน
การแปลงพิกัดเพื่อเปลี่ยนพื้นหลักฐาน จะต้องระบุค่าพารามิเตอร์ที่ใช้ในการแปลง (Transformation) ค่าพิกัดจากพื้นหลักฐาน WGS 84 (World Geodetic System 1984) ไปเป็นพื้นหลักฐาน อินเดียน พ.ศ. 2518 หรือ Indian Datum 1975 ที่ใช้พารามิเตอร์จากรูปทรงรี Everest 1969 ตามประกาศของกรมแผนที่ทหาร คือ ΔX=206 เมตร, ΔY=837 เมตร,ΔZ=295 เมตร
การแปลงพิกัดจากพื้นหลักฐาน WGS84 ไปเป็นพิกัดบนพื้นหลักฐาน อินเดียน พ.ศ. 2518
C:\Program Files\FWTools1.3.2>cs2cs +proj=latlong +ellps=WGS84 +towgs84=-206,-837,-295 +to +proj=latlong +ellps=evrst69 -v
# ---- From Coordinate System ----
#Lat/long (Geodetic)
#
# +proj=latlong +ellps=WGS84 +towgs84=-206,-837,-295
# ---- To Coordinate System ----
#Lat/long (Geodetic)
#
# +proj=latlong +ellps=evrst69
99.0 14.0
99d0'11.145"E 13d59'54.142"N -11.607
กลับกันหากต้องการแปลง การแปลงพิกัดจากพื้นหลักฐานอินเดียน พ.ศ. 2518 ไปเป็นพิกัดบนพื้นหลักฐาน WGS84 ทำได้ดังนี้
C:\Program Files\FWTools1.3.2>cs2cs +proj=latlong +ellps=evrst69 +towgs84=-206
,-837,-295 +to +proj=latlong +ellps=WGS84 -v
# ---- From Coordinate System ----
#Lat/long (Geodetic)
#
# +proj=latlong +ellps=evrst69 +towgs84=-206,-837,-295
# ---- To Coordinate System ----
#Lat/long (Geodetic)
#
# +proj=latlong +ellps=WGS84
99.0 14.0
99d0'11.146"E 13d59'59.738"N -1672.848
เวปไซต์สำหรับเผยแพร่ ผลงานวิจัยด้านภูมิสารสนเทศ โดยกลุ่มนักวิจัย ดร.ไพศาล สันติธรรมนท์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยินดีต้อนรับทุกท่านที่เยี่ยมชมและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น Research and Development in geo-spatial science and technology for Thailand
วันพุธที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
การแปลงค่าพิกัดภูมิศาสตร์ (อีกแล้ว)
ในชุดซอฟต์แวร์ fwtools มีซอฟต์แวร์โมดูลที่น่าสนใจมากอยู่ 2 โมดูลที่เป็นประโยชน์ในการแปลงค่าพิกัดตามรูปแบบเส้นโครงแผนที่ และการแปลงพิกัดเพื่อเปลี่ยนพื้นหลักฐาน
กรณีต้องการแปลงค่าพิกัดภูมิศาสตร์ บนพื้นหลักฐาน WGS84 ให้เป็นระบบพิกัดยูทีเอ็ม (universal transverse mercator :UTM) สำหรับโซน 47 หรือ 48 ตามลำดับในตัวอย่างนี้
C:\Program Files\FWTools1.3.2>proj +proj=utm +zone=47 -v
#Universal Transverse Mercator (UTM)
# Cyl, Sph
# zone= south
# +proj=utm +zone=48 +ellps=WGS84
99.0 14.0
500000.00 1547726.31
C:\Program Files\FWTools1.3.2>proj +proj=utm +zone=48 -v
105 16
500000.00 1768935.38
กรณีมีค่าพิกัดภูมิศาสตร์แล้วต้องการทราบสเกลแฟคเตอร์ (scale factor) การบิดเบี้ยว (distortion) ของเส้นโครงแผนที่ ให้ใช้ตัวเลือก –S จะแสดงผลลัพธ์ h, k, s, omega, a, b
C:\Program Files\FWTools1.3.2>proj +proj=utm +zone=47 -v -S
#Universal Transverse Mercator (UTM)
# Cyl, Sph
# zone= south
# +proj=utm +zone=47 +ellps=WGS84
99 0
500000.00 0.00 <0.9996 0.9996 0.9992 0 0.9996 0.9996>
101 14
716020.56 1548638.69 <1.00018 1.00018 1.00035 1.70724e-006 1.00018 1.
00018>
กรณีต้องการแปลงค่าพิกัดภูมิศาสตร์ บนพื้นหลักฐาน WGS84 ให้เป็นระบบพิกัดยูทีเอ็ม (universal transverse mercator :UTM) สำหรับโซน 47 หรือ 48 ตามลำดับในตัวอย่างนี้
C:\Program Files\FWTools1.3.2>proj +proj=utm +zone=47 -v
#Universal Transverse Mercator (UTM)
# Cyl, Sph
# zone= south
# +proj=utm +zone=48 +ellps=WGS84
99.0 14.0
500000.00 1547726.31
C:\Program Files\FWTools1.3.2>proj +proj=utm +zone=48 -v
105 16
500000.00 1768935.38
กรณีมีค่าพิกัดภูมิศาสตร์แล้วต้องการทราบสเกลแฟคเตอร์ (scale factor) การบิดเบี้ยว (distortion) ของเส้นโครงแผนที่ ให้ใช้ตัวเลือก –S จะแสดงผลลัพธ์ h, k, s, omega, a, b
C:\Program Files\FWTools1.3.2>proj +proj=utm +zone=47 -v -S
#Universal Transverse Mercator (UTM)
# Cyl, Sph
# zone= south
# +proj=utm +zone=47 +ellps=WGS84
99 0
500000.00 0.00 <0.9996 0.9996 0.9992 0 0.9996 0.9996>
101 14
716020.56 1548638.69 <1.00018 1.00018 1.00035 1.70724e-006 1.00018 1.
00018>
ข้อมูลถนนอย่างละเอียด
เรามีข้อมูลถนนอย่างละเอียดทั่วประเทศหรือบางส่วน โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ข้อมูลถนนเหล่านี้อยู่ในรูปแบบ Map Services ให้เรา้เลือกใช้ เรียกดูได้โดยสดวก และหากมีความต้องการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนพื้นฐานข้อมูลเหล่านี้ก็สามารถเลือก integrate ได้
ข้อมูลถนนเหล่านี้มีให้เลือกใช้หลายแหล่ง ที่น่าสนใจได้แก่
1) Google Maps มีเฉพาะภาษาไทย
2) Moffle ภาษาอังกฤษ
3) Multimap ภาษาอังกฤษ
4) Longdo ภาษาไทยและอังกฤษ
ข้อมูลถนนเหล่านี้มีให้เลือกใช้หลายแหล่ง ที่น่าสนใจได้แก่
1) Google Maps มีเฉพาะภาษาไทย
2) Moffle ภาษาอังกฤษ
3) Multimap ภาษาอังกฤษ
4) Longdo ภาษาไทยและอังกฤษ
ป้ายกำกับ:
Navigator,
OGC Web Map Services,
Road Network
วันอาทิตย์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
การผสมผสาน Google Maps กับ OGC Web Map Services
สัปดาห์ที่ผ่าน ได้มีโอกาสทดสอบ การผสมผสาน Google Maps กับ OGC
Web Map Services ร่วมกับนิสิตปริญญาเอก คุณชัยภัทร เนื่องคำมา (pk) เราพบว่าประสิทธิภาพของการการผสมสานทำให้เกิดแนวคิดใหม่มากมาย
ในการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในรุ่นต่อๆไป นอกจากนี้เรายังพบว่า
Google Maps API มีประสิทธิภาพมากๆ แม้การนำมาใช้เป็น viewer สำหรับ
OGC Web Service (OWS) interface เพียงอย่างเดี่ยว ก็ให้ผลที่น่าประทับใจมาก
ลองดูที่นี้ได้เลยครับ
Web Map Services ร่วมกับนิสิตปริญญาเอก คุณชัยภัทร เนื่องคำมา (pk) เราพบว่าประสิทธิภาพของการการผสมสานทำให้เกิดแนวคิดใหม่มากมาย
ในการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในรุ่นต่อๆไป นอกจากนี้เรายังพบว่า
Google Maps API มีประสิทธิภาพมากๆ แม้การนำมาใช้เป็น viewer สำหรับ
OGC Web Service (OWS) interface เพียงอย่างเดี่ยว ก็ให้ผลที่น่าประทับใจมาก
ลองดูที่นี้ได้เลยครับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)