Google Map for Mobile (GMM) version 2.0
ได้รับการปรับปรุงใหม่และมีคุณลักษณะีที่น่าสนใจมาก
ดังนี้
-มีข้อมูลถนนอย่างละเอียด
-วางแผนการเดินทางได้
-มีแผนที่ภาพให้ดูด้วย
-เมื่อไม่มี GPS สามารถกำหนดตำแหน่งโดย อาศัย cell Info
-เมื่อมี GPS จะ tracking ได้ ต่อผ่าน Bluetooth
ทั้งหมดนี้ฟรีครับ โดยการใช้ google maps mobile version 2.0
http://www.google.com/gmm/index.html
หลายท่านอาจเคยลอง v.1.x มาแล้วแต่ไม่ประทับ.ใจเท่าไหร่
ลองดูอีกทีครับ
โดยเฉพาะมือถือ symbian เดิมใช้ Google map ที่เป็น J2ME ซึ่ง
ค่อนข้างช้าและต่อ GPS หรือหาตำแหน่งไม่ได้
แต่เที่ยวนี้ เร็วขึ้นมาก เนื่องจากมีซอฟต์แวร์บนทุก platform
http://www.google.com/gmm/index.html
และที่สำคัญคือหาตำแหน่งได้
แม้ว่าจะมีความคลาดเคลื่อนสูงระดับ กิโลเมตร
แต่ทำให้มือถือ symbian และpocket pc /window mobile
จำนวนมากมีโอกาสได้ลองเล่นได้
ลองดูนะครับ
เวปไซต์สำหรับเผยแพร่ ผลงานวิจัยด้านภูมิสารสนเทศ โดยกลุ่มนักวิจัย ดร.ไพศาล สันติธรรมนท์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยินดีต้อนรับทุกท่านที่เยี่ยมชมและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น Research and Development in geo-spatial science and technology for Thailand
วันอาทิตย์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2550
วันอาทิตย์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2550
GIS Script อะไรดี
หากท่านต้องการพัฒนา เครื่องมือสำหรับการคำนวณทางวิทยาศาตร์
ส่วนมากเราจะนึกถึง mathlab หรือ octave
แต่ถ้าเราต้องการพัฒนาเครื่องมือสำหรับการประยุกต์ใช้ทาง
GIS Geoinformatics โดยใช้ script ท่านนึกถึงอะไร ?
ArcGIS ? ระบบใหญ่สมบูรณ์เพรียบพร้อม แต่จะใช้งานเป็น
ได้อย่างลึกซึ้งได้อย่างไร นำไปใช้จริง จะหาชุดลิขสิทธิ์ได้ที่ใหน
QGIS ? ทำงานได้คล้าย arcview / arcmap มี python
ให้เขียน customize ได้ แต่ต้องเข้าใจ Qt GUI ด้วย
MapWindow ? ก็ไม่เลว จะเขียน script หรือ plug-ins ด้วย VB Script หรือ C++ แต่ว่าภาษาเป็นภาษาพัฒนาระบบ เข้าใจยาก
...เฮ้อ...... ลองนี่มั้ยครับ Mapnik
ใช้ภาษาขั้นสูง python ใช้ไลบราลี่ FOSS ทั้งชุดเช่น
GDAL, OGR
หลักการนำไปใช้ ส่วนมากเราจะมีข้อมูลฟีเจอร์เป็น shapefile
และข้อมูลกริด Geotiff ใช้ Mapnik อ่านเข้า
แล้วคำนวณ หรือ จำลองแบบต่างๆ จากนั้นเขียนผลลัพธ์กลับ
หรือแสดงผลเป็นภาพ เช่น png สวยงามอย่างที่เห็น
ในตัวอย่างนี้
เข้าใจว่า openlayer ก็นำ mapnik ไปใช้ในการ render
กราฟฟิกส์ ด้วยนะ
ลองดูนะครับ
ส่วนมากเราจะนึกถึง mathlab หรือ octave
แต่ถ้าเราต้องการพัฒนาเครื่องมือสำหรับการประยุกต์ใช้ทาง
GIS Geoinformatics โดยใช้ script ท่านนึกถึงอะไร ?
ArcGIS ? ระบบใหญ่สมบูรณ์เพรียบพร้อม แต่จะใช้งานเป็น
ได้อย่างลึกซึ้งได้อย่างไร นำไปใช้จริง จะหาชุดลิขสิทธิ์ได้ที่ใหน
QGIS ? ทำงานได้คล้าย arcview / arcmap มี python
ให้เขียน customize ได้ แต่ต้องเข้าใจ Qt GUI ด้วย
MapWindow ? ก็ไม่เลว จะเขียน script หรือ plug-ins ด้วย VB Script หรือ C++ แต่ว่าภาษาเป็นภาษาพัฒนาระบบ เข้าใจยาก
...เฮ้อ...... ลองนี่มั้ยครับ Mapnik
ใช้ภาษาขั้นสูง python ใช้ไลบราลี่ FOSS ทั้งชุดเช่น
GDAL, OGR
หลักการนำไปใช้ ส่วนมากเราจะมีข้อมูลฟีเจอร์เป็น shapefile
และข้อมูลกริด Geotiff ใช้ Mapnik อ่านเข้า
แล้วคำนวณ หรือ จำลองแบบต่างๆ จากนั้นเขียนผลลัพธ์กลับ
หรือแสดงผลเป็นภาพ เช่น png สวยงามอย่างที่เห็น
ในตัวอย่างนี้
เข้าใจว่า openlayer ก็นำ mapnik ไปใช้ในการ render
กราฟฟิกส์ ด้วยนะ
ลองดูนะครับ
วันพุธที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
วิทยานิพนธ์ สำหรับนิสิตภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ 2550
วิทยานิพนธ์
สำหรับ นิสิตภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ
ระดับปริญญาเอก และ ปริญญาโท
บางส่วน สำหรับปริญญาตรี
ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีดังนี้
กลุ่มงาน Photogrammetry , Mapping from Space
และ Image Processing and Analysis
------------------------------------------------------------
1) การพัฒนา Processing Software สำหรับการผลิต Orthophoto
การพัฒนาซอฟต์แวร์ประมวลสำหรับภาพดาวเทียมรายละเอียดสูง THEOS
keyword: Ortho rectification
Software: OSSIM, Orfeo
2) การพัฒนา Sensor Model ของกล้อง Digital Camera
keyworkd: Lens Distortion, Precise 3-D Mensuration,
Calibration of Metric Digital Camera
Software: DLR Calde, DLR Callab
3) อัลการิธึมผลิตผลสูง (high-througput) สำหรับการประมวลผล Lidar เพื่อ
สร้างแบบจำลองระดับ (DEM) และเส้นชั้นความสูง
keyword: LIDAR, DEM, contour, streaming Delaunay,
visualization
software: UNC lastools
โดยทั่วๆไป นิสิตที่จะทำวิทยานิพนธ์เหล่านี้ ต้องมีความรู้พื้นฐานหรือ
คุ้นเคยกับภาษาที่จะใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนา และวิจัย
ภาษาเหล่านี้ได้แก่
programming language: C,C++,C#
4-GL math tools : Octave (Mathlab), Python
web programming : HTML, javascript
RDBMS: MySQL, PostgreSQL/PostGIS
จึงใครเชิญชวนให้นิสิตภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ ศึกษาหัวข้อ
เหล่านี้ดู หากสนใจสามารถหารือกับผมได้ทันที
ขอให้สนุกครับ!
สำหรับ นิสิตภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ
ระดับปริญญาเอก และ ปริญญาโท
บางส่วน สำหรับปริญญาตรี
ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีดังนี้
กลุ่มงาน Photogrammetry , Mapping from Space
และ Image Processing and Analysis
------------------------------------------------------------
1) การพัฒนา Processing Software สำหรับการผลิต Orthophoto
การพัฒนาซอฟต์แวร์ประมวลสำหรับภาพดาวเทียมรายละเอียดสูง THEOS
keyword: Ortho rectification
Software: OSSIM, Orfeo
2) การพัฒนา Sensor Model ของกล้อง Digital Camera
keyworkd: Lens Distortion, Precise 3-D Mensuration,
Calibration of Metric Digital Camera
Software: DLR Calde, DLR Callab
3) อัลการิธึมผลิตผลสูง (high-througput) สำหรับการประมวลผล Lidar เพื่อ
สร้างแบบจำลองระดับ (DEM) และเส้นชั้นความสูง
keyword: LIDAR, DEM, contour, streaming Delaunay,
visualization
software: UNC lastools
โดยทั่วๆไป นิสิตที่จะทำวิทยานิพนธ์เหล่านี้ ต้องมีความรู้พื้นฐานหรือ
คุ้นเคยกับภาษาที่จะใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนา และวิจัย
ภาษาเหล่านี้ได้แก่
programming language: C,C++,C#
4-GL math tools : Octave (Mathlab), Python
web programming : HTML, javascript
RDBMS: MySQL, PostgreSQL/PostGIS
จึงใครเชิญชวนให้นิสิตภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ ศึกษาหัวข้อ
เหล่านี้ดู หากสนใจสามารถหารือกับผมได้ทันที
ขอให้สนุกครับ!
วันเสาร์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
วิทยานิพนธ์ 2550 สำหรับนิสิตภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ
วิทยานิพนธ์
สำหรับ นิสิตภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ
ระดับปริญญาเอก และ ปริญญาโท
บางส่วน สำหรับปริญญาตรี
ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีดังนี้
กลุ่มวิจัย Web-based Geoinformatics และ Open-source GIS
1) Web Map Services and standardization
Web Map Ontology
Free/Libre and Open Source Software for Geoinformatics
Keyworkds: ISO WMS, OGC Web Map Service,
Web Feature Service (WFS), Filter Encoding (FE)
Catalogues Service for Web (CS-W),
Web Portrayal Service, Web Processing Service (WPS)
2) การพัฒนาระบบ Disaster Management System,
การพัฒนาระบบใหรองรับท้องถิ่น (localization)
keyword: exchange standard, openCARE
Software: sahana,
Llink: OpenCARE
3) Loss Estimation from Tsunami and Earthquake using
a Loss Estimation program
keyword: Loss estimation, FEMA, HAZUS-MH, Inundation Dept,
Fagility Curve, Building Inventory
4) Geocoding, Geocoding development, Geocoding API
keywork: address-based geocoding, area-based geocoding, US National Grid (USNG)
โดยทั่วๆไป นิสิตที่จะทำวิทยานิพนธ์เหล่านี้ ต้องมีความรู้พื้นฐานหรือ
คุ้นเคยกับภาษาที่จะใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนา และวิจัย
ภาษาเหล่านี้ได้แก่
programming language: C,C++,C#
4-GL math tools : Octave (Mathlab), Python
web programming : HTML, javascript
RDBMS: MySQL, PostgreSQL/PostGIS
จึงใครเชิญชวนให้นิสิตภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ ศึกษาหัวข้อ
เหล่านี้ดู หากสนใจสามารถหารือกับผมได้ทันที
ขอให้สนุกครับ!
สำหรับ นิสิตภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ
ระดับปริญญาเอก และ ปริญญาโท
บางส่วน สำหรับปริญญาตรี
ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีดังนี้
กลุ่มวิจัย Web-based Geoinformatics และ Open-source GIS
1) Web Map Services and standardization
Web Map Ontology
Free/Libre and Open Source Software for Geoinformatics
Keyworkds: ISO WMS, OGC Web Map Service,
Web Feature Service (WFS), Filter Encoding (FE)
Catalogues Service for Web (CS-W),
Web Portrayal Service, Web Processing Service (WPS)
2) การพัฒนาระบบ Disaster Management System,
การพัฒนาระบบใหรองรับท้องถิ่น (localization)
keyword: exchange standard, openCARE
Software: sahana,
Llink: OpenCARE
3) Loss Estimation from Tsunami and Earthquake using
a Loss Estimation program
keyword: Loss estimation, FEMA, HAZUS-MH, Inundation Dept,
Fagility Curve, Building Inventory
4) Geocoding, Geocoding development, Geocoding API
keywork: address-based geocoding, area-based geocoding, US National Grid (USNG)
โดยทั่วๆไป นิสิตที่จะทำวิทยานิพนธ์เหล่านี้ ต้องมีความรู้พื้นฐานหรือ
คุ้นเคยกับภาษาที่จะใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนา และวิจัย
ภาษาเหล่านี้ได้แก่
programming language: C,C++,C#
4-GL math tools : Octave (Mathlab), Python
web programming : HTML, javascript
RDBMS: MySQL, PostgreSQL/PostGIS
จึงใครเชิญชวนให้นิสิตภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ ศึกษาหัวข้อ
เหล่านี้ดู หากสนใจสามารถหารือกับผมได้ทันที
ขอให้สนุกครับ!
วันพุธที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
การแปลงค่าพิกัดเพื่อเปลี่ยนพื้นหลักฐานโดยใข้ cs2cs
ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ในชุดซอฟต์แวร์ fwtools มีซอฟต์แวร์โมดูลที่น่าสนใจมากอยู่ 2 โมดูลที่เป็นประโยชน์ในการแปลงค่าพิกัดตามรูปแบบเส้นโครงแผนที่ และการแปลงพิกัดเพื่อเปลี่ยนพื้นหลักฐาน
การแปลงพิกัดเพื่อเปลี่ยนพื้นหลักฐาน จะต้องระบุค่าพารามิเตอร์ที่ใช้ในการแปลง (Transformation) ค่าพิกัดจากพื้นหลักฐาน WGS 84 (World Geodetic System 1984) ไปเป็นพื้นหลักฐาน อินเดียน พ.ศ. 2518 หรือ Indian Datum 1975 ที่ใช้พารามิเตอร์จากรูปทรงรี Everest 1969 ตามประกาศของกรมแผนที่ทหาร คือ ΔX=206 เมตร, ΔY=837 เมตร,ΔZ=295 เมตร
การแปลงพิกัดจากพื้นหลักฐาน WGS84 ไปเป็นพิกัดบนพื้นหลักฐาน อินเดียน พ.ศ. 2518
C:\Program Files\FWTools1.3.2>cs2cs +proj=latlong +ellps=WGS84 +towgs84=-206,-837,-295 +to +proj=latlong +ellps=evrst69 -v
# ---- From Coordinate System ----
#Lat/long (Geodetic)
#
# +proj=latlong +ellps=WGS84 +towgs84=-206,-837,-295
# ---- To Coordinate System ----
#Lat/long (Geodetic)
#
# +proj=latlong +ellps=evrst69
99.0 14.0
99d0'11.145"E 13d59'54.142"N -11.607
กลับกันหากต้องการแปลง การแปลงพิกัดจากพื้นหลักฐานอินเดียน พ.ศ. 2518 ไปเป็นพิกัดบนพื้นหลักฐาน WGS84 ทำได้ดังนี้
C:\Program Files\FWTools1.3.2>cs2cs +proj=latlong +ellps=evrst69 +towgs84=-206
,-837,-295 +to +proj=latlong +ellps=WGS84 -v
# ---- From Coordinate System ----
#Lat/long (Geodetic)
#
# +proj=latlong +ellps=evrst69 +towgs84=-206,-837,-295
# ---- To Coordinate System ----
#Lat/long (Geodetic)
#
# +proj=latlong +ellps=WGS84
99.0 14.0
99d0'11.146"E 13d59'59.738"N -1672.848
การแปลงพิกัดเพื่อเปลี่ยนพื้นหลักฐาน จะต้องระบุค่าพารามิเตอร์ที่ใช้ในการแปลง (Transformation) ค่าพิกัดจากพื้นหลักฐาน WGS 84 (World Geodetic System 1984) ไปเป็นพื้นหลักฐาน อินเดียน พ.ศ. 2518 หรือ Indian Datum 1975 ที่ใช้พารามิเตอร์จากรูปทรงรี Everest 1969 ตามประกาศของกรมแผนที่ทหาร คือ ΔX=206 เมตร, ΔY=837 เมตร,ΔZ=295 เมตร
การแปลงพิกัดจากพื้นหลักฐาน WGS84 ไปเป็นพิกัดบนพื้นหลักฐาน อินเดียน พ.ศ. 2518
C:\Program Files\FWTools1.3.2>cs2cs +proj=latlong +ellps=WGS84 +towgs84=-206,-837,-295 +to +proj=latlong +ellps=evrst69 -v
# ---- From Coordinate System ----
#Lat/long (Geodetic)
#
# +proj=latlong +ellps=WGS84 +towgs84=-206,-837,-295
# ---- To Coordinate System ----
#Lat/long (Geodetic)
#
# +proj=latlong +ellps=evrst69
99.0 14.0
99d0'11.145"E 13d59'54.142"N -11.607
กลับกันหากต้องการแปลง การแปลงพิกัดจากพื้นหลักฐานอินเดียน พ.ศ. 2518 ไปเป็นพิกัดบนพื้นหลักฐาน WGS84 ทำได้ดังนี้
C:\Program Files\FWTools1.3.2>cs2cs +proj=latlong +ellps=evrst69 +towgs84=-206
,-837,-295 +to +proj=latlong +ellps=WGS84 -v
# ---- From Coordinate System ----
#Lat/long (Geodetic)
#
# +proj=latlong +ellps=evrst69 +towgs84=-206,-837,-295
# ---- To Coordinate System ----
#Lat/long (Geodetic)
#
# +proj=latlong +ellps=WGS84
99.0 14.0
99d0'11.146"E 13d59'59.738"N -1672.848
การแปลงค่าพิกัดภูมิศาสตร์ (อีกแล้ว)
ในชุดซอฟต์แวร์ fwtools มีซอฟต์แวร์โมดูลที่น่าสนใจมากอยู่ 2 โมดูลที่เป็นประโยชน์ในการแปลงค่าพิกัดตามรูปแบบเส้นโครงแผนที่ และการแปลงพิกัดเพื่อเปลี่ยนพื้นหลักฐาน
กรณีต้องการแปลงค่าพิกัดภูมิศาสตร์ บนพื้นหลักฐาน WGS84 ให้เป็นระบบพิกัดยูทีเอ็ม (universal transverse mercator :UTM) สำหรับโซน 47 หรือ 48 ตามลำดับในตัวอย่างนี้
C:\Program Files\FWTools1.3.2>proj +proj=utm +zone=47 -v
#Universal Transverse Mercator (UTM)
# Cyl, Sph
# zone= south
# +proj=utm +zone=48 +ellps=WGS84
99.0 14.0
500000.00 1547726.31
C:\Program Files\FWTools1.3.2>proj +proj=utm +zone=48 -v
105 16
500000.00 1768935.38
กรณีมีค่าพิกัดภูมิศาสตร์แล้วต้องการทราบสเกลแฟคเตอร์ (scale factor) การบิดเบี้ยว (distortion) ของเส้นโครงแผนที่ ให้ใช้ตัวเลือก –S จะแสดงผลลัพธ์ h, k, s, omega, a, b
C:\Program Files\FWTools1.3.2>proj +proj=utm +zone=47 -v -S
#Universal Transverse Mercator (UTM)
# Cyl, Sph
# zone= south
# +proj=utm +zone=47 +ellps=WGS84
99 0
500000.00 0.00 <0.9996 0.9996 0.9992 0 0.9996 0.9996>
101 14
716020.56 1548638.69 <1.00018 1.00018 1.00035 1.70724e-006 1.00018 1.
00018>
กรณีต้องการแปลงค่าพิกัดภูมิศาสตร์ บนพื้นหลักฐาน WGS84 ให้เป็นระบบพิกัดยูทีเอ็ม (universal transverse mercator :UTM) สำหรับโซน 47 หรือ 48 ตามลำดับในตัวอย่างนี้
C:\Program Files\FWTools1.3.2>proj +proj=utm +zone=47 -v
#Universal Transverse Mercator (UTM)
# Cyl, Sph
# zone= south
# +proj=utm +zone=48 +ellps=WGS84
99.0 14.0
500000.00 1547726.31
C:\Program Files\FWTools1.3.2>proj +proj=utm +zone=48 -v
105 16
500000.00 1768935.38
กรณีมีค่าพิกัดภูมิศาสตร์แล้วต้องการทราบสเกลแฟคเตอร์ (scale factor) การบิดเบี้ยว (distortion) ของเส้นโครงแผนที่ ให้ใช้ตัวเลือก –S จะแสดงผลลัพธ์ h, k, s, omega, a, b
C:\Program Files\FWTools1.3.2>proj +proj=utm +zone=47 -v -S
#Universal Transverse Mercator (UTM)
# Cyl, Sph
# zone= south
# +proj=utm +zone=47 +ellps=WGS84
99 0
500000.00 0.00 <0.9996 0.9996 0.9992 0 0.9996 0.9996>
101 14
716020.56 1548638.69 <1.00018 1.00018 1.00035 1.70724e-006 1.00018 1.
00018>
ข้อมูลถนนอย่างละเอียด
เรามีข้อมูลถนนอย่างละเอียดทั่วประเทศหรือบางส่วน โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ข้อมูลถนนเหล่านี้อยู่ในรูปแบบ Map Services ให้เรา้เลือกใช้ เรียกดูได้โดยสดวก และหากมีความต้องการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนพื้นฐานข้อมูลเหล่านี้ก็สามารถเลือก integrate ได้
ข้อมูลถนนเหล่านี้มีให้เลือกใช้หลายแหล่ง ที่น่าสนใจได้แก่
1) Google Maps มีเฉพาะภาษาไทย
2) Moffle ภาษาอังกฤษ
3) Multimap ภาษาอังกฤษ
4) Longdo ภาษาไทยและอังกฤษ
ข้อมูลถนนเหล่านี้มีให้เลือกใช้หลายแหล่ง ที่น่าสนใจได้แก่
1) Google Maps มีเฉพาะภาษาไทย
2) Moffle ภาษาอังกฤษ
3) Multimap ภาษาอังกฤษ
4) Longdo ภาษาไทยและอังกฤษ
ป้ายกำกับ:
Navigator,
OGC Web Map Services,
Road Network
วันอาทิตย์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
การผสมผสาน Google Maps กับ OGC Web Map Services
สัปดาห์ที่ผ่าน ได้มีโอกาสทดสอบ การผสมผสาน Google Maps กับ OGC
Web Map Services ร่วมกับนิสิตปริญญาเอก คุณชัยภัทร เนื่องคำมา (pk) เราพบว่าประสิทธิภาพของการการผสมสานทำให้เกิดแนวคิดใหม่มากมาย
ในการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในรุ่นต่อๆไป นอกจากนี้เรายังพบว่า
Google Maps API มีประสิทธิภาพมากๆ แม้การนำมาใช้เป็น viewer สำหรับ
OGC Web Service (OWS) interface เพียงอย่างเดี่ยว ก็ให้ผลที่น่าประทับใจมาก
ลองดูที่นี้ได้เลยครับ
Web Map Services ร่วมกับนิสิตปริญญาเอก คุณชัยภัทร เนื่องคำมา (pk) เราพบว่าประสิทธิภาพของการการผสมสานทำให้เกิดแนวคิดใหม่มากมาย
ในการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศในรุ่นต่อๆไป นอกจากนี้เรายังพบว่า
Google Maps API มีประสิทธิภาพมากๆ แม้การนำมาใช้เป็น viewer สำหรับ
OGC Web Service (OWS) interface เพียงอย่างเดี่ยว ก็ให้ผลที่น่าประทับใจมาก
ลองดูที่นี้ได้เลยครับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)