วันพุธที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

วิทยานิพนธ์ สำหรับนิสิตภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ 2550

วิทยานิพนธ์
สำหรับ นิสิตภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ
ระดับปริญญาเอก และ ปริญญาโท
บางส่วน สำหรับปริญญาตรี
ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีดังนี้

กลุ่มงาน Photogrammetry , Mapping from Space
และ Image Processing and Analysis
------------------------------------------------------------
1) การพัฒนา Processing Software สำหรับการผลิต Orthophoto
การพัฒนาซอฟต์แวร์ประมวลสำหรับภาพดาวเทียมรายละเอียดสูง THEOS
keyword: Ortho rectification
Software: OSSIM, Orfeo

2) การพัฒนา Sensor Model ของกล้อง Digital Camera
keyworkd: Lens Distortion, Precise 3-D Mensuration,
Calibration of Metric Digital Camera
Software: DLR Calde, DLR Callab

3) อัลการิธึมผลิตผลสูง (high-througput) สำหรับการประมวลผล Lidar เพื่อ
สร้างแบบจำลองระดับ (DEM) และเส้นชั้นความสูง
keyword: LIDAR, DEM, contour, streaming Delaunay,
visualization
software: UNC lastools


โดยทั่วๆไป นิสิตที่จะทำวิทยานิพนธ์เหล่านี้ ต้องมีความรู้พื้นฐานหรือ
คุ้นเคยกับภาษาที่จะใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนา และวิจัย
ภาษาเหล่านี้ได้แก่
programming language: C,C++,C#
4-GL math tools : Octave (Mathlab), Python
web programming : HTML, javascript
RDBMS: MySQL, PostgreSQL/PostGIS

จึงใครเชิญชวนให้นิสิตภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ ศึกษาหัวข้อ
เหล่านี้ดู หากสนใจสามารถหารือกับผมได้ทันที

ขอให้สนุกครับ!

วันเสาร์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

วิทยานิพนธ์ 2550 สำหรับนิสิตภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ

วิทยานิพนธ์
สำหรับ นิสิตภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ
ระดับปริญญาเอก และ ปริญญาโท
บางส่วน สำหรับปริญญาตรี
ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีดังนี้

กลุ่มวิจัย Web-based Geoinformatics และ Open-source GIS

1) Web Map Services and standardization
Web Map Ontology
Free/Libre and Open Source Software for Geoinformatics
Keyworkds: ISO WMS, OGC Web Map Service,
Web Feature Service (WFS), Filter Encoding (FE)
Catalogues Service for Web (CS-W),
Web Portrayal Service, Web Processing Service (WPS)

2) การพัฒนาระบบ Disaster Management System,
การพัฒนาระบบใหรองรับท้องถิ่น (localization)
keyword: exchange standard, openCARE
Software: sahana,
Llink: OpenCARE

3) Loss Estimation from Tsunami and Earthquake using
a Loss Estimation program
keyword: Loss estimation, FEMA, HAZUS-MH, Inundation Dept,
Fagility Curve, Building Inventory

4) Geocoding, Geocoding development, Geocoding API
keywork: address-based geocoding, area-based geocoding, US National Grid (USNG)

โดยทั่วๆไป นิสิตที่จะทำวิทยานิพนธ์เหล่านี้ ต้องมีความรู้พื้นฐานหรือ
คุ้นเคยกับภาษาที่จะใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนา และวิจัย
ภาษาเหล่านี้ได้แก่
programming language: C,C++,C#
4-GL math tools : Octave (Mathlab), Python
web programming : HTML, javascript
RDBMS: MySQL, PostgreSQL/PostGIS

จึงใครเชิญชวนให้นิสิตภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ ศึกษาหัวข้อ
เหล่านี้ดู หากสนใจสามารถหารือกับผมได้ทันที

ขอให้สนุกครับ!